ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 16° 52' 13.1268"
16.870313
ลองจิจูด (แวง) : E 99° 47' 47.0076"
99.796391
เลขที่ : 169124
หอกลองโบราณ วัดลาย
เสนอโดย ศูนย์ข้อมูลกลาง วันที่ ไม่ระบุ
อนุมัติโดย ศูนย์ข้อมูลกลาง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555
จังหวัด : สุโขทัย
0 1609
รายละเอียด
ชื่อ หอกลองโบราณ อายุ 87 ปี ที่อยู่แหล่งที่ตั้ง ตั้งอยู่ภายในวัดลาย หมู่ที่ 3 ต.ทุ่งหลวง อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย สถานภาพของสถานที่ ปัจจุบันอยู่ในสภาพทรุดโทรม ไม่ได้ถูกใช้งาน ความสำคัญในอดีต หอกลองใช้สำหรับตีเป็นสัญญาณ แจ้งเวลาที่จะทำกิจพิธีของสงฆ์ สภาพทางภูมิศาสตร์ บริเวณที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มกว้างขวางเหมาะสมแก่การทำ เกษตรกรรม จึงเป็นถิ่นที่อยู่และทำมาหากินของคนอย่างหนาแน่น ตั้งแต่สมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน สภาพทางเศรษฐกิจสังคม - ลักษณะเด่นทางวัฒนธรรม เป็นหอสวดมนต์ที่เก่าแก่ เป็นสถานที่สำคัญของวัดลาย มีรูปทรงของสถาปัตยกรรมไทยแบบเก่าซึ่งมี ประวัติความเป็นมา ใน พ.ศ. 2457 – 2458 พระอุปัชฌาย์ต่วน ซึ่งเป็นหัวหน้าฝ่ายสงฆ์โดยมีนายเพ็ง ดีทุ่ง เป็นหัวหน้าฝ่ายฆราวาสพร้อมด้วยชาวบ้าน ได้ร่วมกันก่อสร้างเสนาสนะสงฆ์ทั้งหลายภายในวัด โดยสร้างหอกลอง เป็นอาคารไม้สักชั้นเดียวยกพื้นสูง สร้างสำเร็จใน พ.ศ. 2468 สถานที่สำคัญ -
หมวดหมู่
โบราณสถาน
สถานที่ตั้ง
วัดลาย
เลขที่ หมู่ที่ 3
ตำบล ทุ่งหลวง อำเภอ คีรีมาศ จังหวัด สุโขทัย
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
บุคคลอ้างอิง วัดลาย
เลขที่ หมู่ที่ 3
ตำบล ทุ่งหลวง อำเภอ คีรีมาศ จังหวัด สุโขทัย
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่