ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 17° 25' 19.3465"
17.4220407
ลองจิจูด (แวง) : E 101° 36' 56.7983"
101.6157773
เลขที่ : 168723
สวนป่าภูสวรรค์
เสนอโดย MoCSpecial วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555
อนุมัติโดย ศูนย์ข้อมูลกลาง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555
จังหวัด : เลย
1 1774
รายละเอียด

กรมป่าไม้

ส่วนงานรับผิดชอบ:โครงการ อุตสาหกรรมป่าไม้,กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

จุดประสงค์ในการ จัดตั้งกลุ่ม ป่ายาง

เป็นนโยบายของ กรมป่าไม้ เพื่อให้ชาวบ้านชาวดูแลป่าไม้ปลูกจิตสำนึก ให้ชาวบ้านมีความห่วงแหนในป่าไม้และมีจุดประสงค์หลัก คือ หาอาชีพให้กับชาวบ้านในพื้นที่ ในการสมัครสมาชิกและการลงทุน นั้นไม่เสียค่าใช้จ่ายใด เพียงแต่รายได้ส่วนหนึ่งของงานที่ได้จากพื้นที่ จะแบ่งเป็นภาษี บำรุงป่า ค่าที่ดินหลวง

สมาชิกมี2ส่วน

(โครงการเพิ่งได้รับความสนใจ จากชาวบ้านเมื่อ10ปีที่ผ่านมา)

พื้นที่ป่าทั้งหมด6,000ไร่เป็นการบริจาคพื้นที่จาก องค์การทหารผ่านศึก

แบ่งเป็น ป่ายาง300ไร่

สมาชิกที่ ต้องการ ใช้ประโยชน์จากหน้าดิน(ปลูก พืชบนบริเวณไร่ของ ป่ายาง เช่น สัปปะรด)

สมาชิกที่มีหาผลประโยชน์กับต้นยาง(น้ำยาง)

ป่ายาง

การปลุกยาง:ระหว่างต้นที่ปลูก ห่างกันประมาณต้นล่ะ3เมตร ระยะปลูก ระยะห่างระหว่างต้นห่างกัน ประมาณ3.7เมตร ยาง1ต้นโตเต็มที่จะกินเนื้อที่ประมาณ18.7ตารางเมตร

1ไร่ ปลูก ประมาณ60ต้น

กรีดยางครั้งแรก:ใช้ เวลา กว่า7ปี เพื่อ จะลงมือกีดยางเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้เป็นครั้งแรกของการกีด

(การทำป่ายางให้เกิดผลกำไรควร ปลูก ต้นยาง ตั้งแต่5 – 10ไร่เป็น ต้นไป ถึงจะเห็นผล กำไรของการ ทำไร่ยางพารา)

การปลูกยางให้ได้พันธุ์เดียวกันนั้นจะต้อง ปลูกด้วยวิธีการชำกิ่งและปิดตาต้นยาง

(*ทั่วไปนั้น ชาวบ้านในพื้นที่นิยมนำพันธุ์ยางมาจากศูนย์วิจัยต้นยาง และเกษตรกรสวนยางทั้งผู้ผลิตและผู้ขาย น้ำยาง ส่วนใหญ่ จะได้รับการอบรมจากกรมวิชาการเกษตรรับรอง)

โรคของ ไม้ยาง:ส่วนใหญ่จะเป็น โรคเชื่อราในระยะแรกของการเปิดต้น(กรีดต้นยาง)

โรคราดำ และโรคหน้าดำ:คือ ต้นยางในร่องของร่องกรีดจะ มีสีที่เปลี่ยนเป็นสีดำ เป็นผลมาจากฝนที่ตกหนัก

ผลผลิต ของยาง:ขนาดของต้น นั้นจะมีผลต่อปริมาณน้ำยาง ที่จะได้(ประมาณได้)ผลิตของต้นยางมี:1.น้ำยาง2.ยางแผ่น3.ขี้ยางหรือยางก้นถ้วย(ก้อนยางที่ค้าง อยู่ที่ก้นถ้วยรองยาง(เฉพาะวันที่กีด4วัน กีด หรือ6วันกีด))

ระยะการกีด(ต่อต้น) :รอยกรีด1แผลสามารถกรีดซ้ำได้ อีกประมาณ3ครั้ง และ1ต้นจะกรีดได้แค่6ครั้งอย่างต่ำ จากการประมาณด้วยฝีมือการกีด(เกษตรกรทางภาคใต้:ในบางหน้ากรีดยาง ใช้ไม้สอยเพื่อกรีดยาง แต่ในวิธีกีดยางด้วยวิธีใช้ไม้สอย นี้ จะมีความลำบากระหว่างการ เก็บน้ำยาง รวมถึงวิธีการกีดแบบสอยนั้น)

การกรีดยางต่อครั้ง อยู่ที่ประมาณ น้ำยาง140กิโล ต่อ1ไร่

ราคาขา

คำสำคัญ
สวนยาง
สถานที่ตั้ง
จังหวัด เลย
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่