ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 17° 1' 12.576"
17.02016
ลองจิจูด (แวง) : E 99° 44' 1.32"
99.7337
เลขที่ : 169028
สากตำข้าว
เสนอโดย ศูนย์ข้อมูลกลาง วันที่ ไม่ระบุ
อนุมัติโดย สวจ.สุโขทัย วันที่ 29 พฤษภาคม 2563
จังหวัด : สุโขทัย
0 1030
รายละเอียด

เครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล 13 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชื่อ ครกตำข้าว (สุโขทัย) ประเภทและลักษณะ ครกตำข้าวเป็นครกที่ตำด้วยมือ ครกทำด้วยท่อนไม้ใหญ่ เจาะหลุมด้านบนตรงกลางลำต้นของท่อนไม้ สากครกทำด้วยท่อนไม้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 นิ้ว มักเป็นสากสองหัว ยาวประมาณ 1.5 เมตร กึ่งกลางสากทำเป็นมือจับ ครกมือมีฐานกว้างสามารถวางอยู่บนพื้นดินได้โดยไม่ต้องฝังลงไปในดิน จึงสะดวกในการเคลื่อนย้ายไปในที่ต่างๆ ได้ ประวัติความเป็นมา เป็นของใช้พื้นบ้านซึ่งใช้สำหรับตำข้าว ตำถั่ว ตำข้าวโพด เป็นต้น ปัจจุบันการใช้ครกตำข้าวมีใช้กันน้อยมาก จะมีอยู่บ้างในบางหมู่บ้านที่ไม่มีโรงสีข้าว หรืออาจอยู่ห่างไกล พวกชนกลุ่มน้อยบางพวก เช่น พวน โซ่ง แม้ว อีก้อ ซึ่งอยู่ในเขตหัวเมืองฝ่ายเหนือ ยังพอมีใช้งานอยู่บ้าง ความเชื่อที่เกี่ยวข้อง - วัสดุที่ใช้ ไม้เนื้อแข็ง วิธีทำ การใช้ครกตำข้าว จะนำข้าวเปลือกใส่ลงไปในครกพอประมาณ ผู้ที่ทำหน้าที่ตำข้าวจะยืนข้างๆ ครก ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับที่กึ่งกลางสาก ยกสากขึ้นแล้วทิ่มลงไปในครก ให้สากไปกระแทกข้าวเปลือก ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกว่าเปลือกข้าวจะหลุดออกหมด บทบาทและหน้าที่ ความสำคัญในอดีต - วิธีการเรียนการสอน - ประโยชน์ของภูมิปัญญา ใช้ตำข้าวเปลือก สถานที่ พิพิธภัณฑ์ชาวนา ข้าวตอกพระร่วง เลขที่ 382/1 หมู่ 2 ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

สถานที่ตั้ง
พิพิธภัณฑ์ชาวนาข้าวตอกพระร่วง
เลขที่ เลขที่ 382
ตำบล เมืองเก่า อำเภอ เมืองสุโขทัย จังหวัด สุโขทัย
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
บุคคลอ้างอิง นายเหล็ง จันทร์ฉาย
เลขที่ เลขที่ 382
ตำบล เมืองเก่า อำเภอ เมืองสุโขทัย จังหวัด สุโขทัย
โทรศัพท์ (055)633350, 087-201
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่