ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 10° 14' 17.0588"
10.2380719
ลองจิจูด (แวง) : E 99° 6' 37.4134"
99.1103926
เลขที่ : 180840
ลูกคิด
เสนอโดย poungtip00 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556
อนุมัติโดย ชุมพร วันที่ 8 มีนาคม 2556
จังหวัด : ชุมพร
0 467
รายละเอียด

ลูกคิด

ลูกคิดโบราณเปรียบเสมือนเครื่องคิดเลขในสมัยปัจจุบัน คนในสมัยโบราณใช้ในการคำนวณเลข

ลักษณะของรางลูกคิด และลูกคิด
รางลูกคิดมีความกว้าง ๗ นิ้ว ความยาว ๑๒ นิ้ว มีความหนาประมาณ ๑ นิ้ว มีแถวสำหรับคิดเลขทั้งหมด ๑๑ แถว แบ่งเป็น ๒ ส่วน
-ส่วนด้านบนจะมีลูกคิดแถวละ ๒ ลูก ใช้แทนหลักหน่วย สิบ ร้อย พัน
-ส่วนด้านล่างจะใช้แทนเลข ๑, ๒, ๓, ๔ พอครบ ๕ ให้ใช้หลักหน่วยแทน ๑ ลูก หรือพอครบ ๑๐ ให้ใช้หลักสิบแถวที่ ๒ แทน ๑ ลูก คนในสมัยโบราณใช้ลูกคิดเป็นเครื่องคำนาณเลขที่มีหลายหลักและนิยมใช้กันมาก

ลักษณะลูกคิด
เป็นลูกกลม ๆ แบน ๆ มีรูตรงกลาง ใช้ไม้สอดกลางทะลุได้ โดยใช้ไม้กลึงเป็นลูกกลม ๆ ส่วนแกนกลางใช้ไม้เหลาให้กลมสอดกลาง ลูกคิด ๑ แถว จะมีลูกคิดทั้งหมด ๗ ลูก

ที่มานำมาจากประเทศจีน เพราะในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คนไทยมีการค้าขายกับประเทศจีนมาโดยตลอด

ประโยชน์ใช้สำหรับคิดเลขของคนในสมัยโบราณของคนจีนที่มาอาศัยอยู่ในเมืองไทย และในปัจจุบันนี้จะมีคนใช้น้อยมาก

การได้มามีผู้บริจาคให้กับพิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นโรงเรียนสวีวิทยาโรงเรียนสวีวิทยา ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑสถานในประเทศไยลำดับที่ ๑๒ ของสถานศึกษา

สถานที่ตั้ง
พิพิธภัณฑ์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโรงเรียนสวีวิทยา
เลขที่ - หมู่ที่/หมู่บ้าน 5 ซอย - ถนน สวี - บ่อคา
ตำบล นาโพธิ์ อำเภอ สวี จังหวัด ชุมพร
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
มีผู้บริจาคให้กับพิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นโรงเรียนสวีวิทยาโรงเรียนสวีวิทยา
บุคคลอ้างอิง นางพวงทิพย์ สุขโคนา อีเมล์ sukkona@hotmaik.com
ชื่อที่ทำงาน สวจ.ชุมพร
เลขที่ - หมู่ที่/หมู่บ้าน ศาลากลางจังหวัดชุมพร ชั้น 1 ซอย - ถนน -
ตำบล นาชะอัง อำเภอ เมืองชุมพร จังหวัด ชุมพร รหัสไปรษณีย์ 86000
โทรศัพท์ 077 507753 โทรสาร 077 507776
เว็บไซต์ http://province.m-culture.go.th/chumphon
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่