ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 19° 3' 45.0835"
19.0625232
ลองจิจูด (แวง) : E 98° 56' 23.9942"
98.9399984
เลขที่ : 184528
ดอกแก้วป่า
เสนอโดย PISSAAMAI วันที่ 18 มีนาคม 2556
อนุมัติโดย เชียงใหม่ วันที่ 19 มีนาคม 2556
จังหวัด : เชียงใหม่
0 749
รายละเอียด

ดอกแก้ว เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลำต้นมีความสูงประมาณ5-10 เมตรเปลือกลำต้นสีขาวปนเทาลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องตามยาวการแตกกิ่งก้านของทรงพุ่มไม่ค่อยเป็นระเบียบใบออกเป็นช่อเป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบใบเป็นมันสีเขียวเข้มขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุนแรงขอบใบเรียบเป็นคลื่นเล็กน้อยขนาดของใบกว้างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ3-6เซนติเมตรออกดอกเป็นช่อใหญ่ช่อสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดช่อหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต่ละดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข่ รีปลายทู่ มีสีส้ม ภายในมีเมล็ด 1 - 2 เมล็ดดอกแก้ว เป็นดอกไม้ ที่มีกลิ่นหอม ลักษณะ ทรงพุ่มขนาดกลาง ดอกสีขาวเป็นกลุ่มช่อ ใบแผ่จำนวนไม่เกิน ๑๐ ใบต่อก้าน กิ่งเปราะ หักง่าย แทงช่อดอกตามง่ามยอดใบ สวยงาม เมื่อก่อนจะพบตามลำห้วย ชื้นๆ ปัจจุบันนำมาปลูกประดับตามบ้าน ออกดอกทุกฤดูกาล

ประโยชน์ ดอกนำไปไหว้พระ , คารวะผู้ใหญ่ ปลูกเป็นไม้ดอก ประดับตามแนวถนนหนทาง บ้าน ว ลานตาหน้าอาคาร สถานที่ บ้าน รั้ว เพื่อความร่มรื่นและสวยงาม

คำสำคัญ
ดอกแก้วป่า
หมวดหมู่
อื่นๆ
สถานที่ตั้ง
บ้านร่ำเปิง
หมู่ที่/หมู่บ้าน
ตำบล ขี้เหล็ก อำเภอ แม่แตง จังหวัด เชียงใหม่
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
นาง พิสมัย มงคล
บุคคลอ้างอิง PISSAAMAI MOUNGKOK อีเมล์ pissaamai_m@m-culture.go.th
ชื่อที่ทำงาน culture office mae taeng
เลขที่ ที่ว่าการ หมู่ที่/หมู่บ้าน 2 ถนน เชียงใหม่-ฝาง
ตำบล สันมหาพน อำเภอ แม่แตง จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50150
โทรศัพท์ 0818741261
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่