ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 18° 25' 38.5183"
18.4273662
ลองจิจูด (แวง) : E 98° 57' 27.6296"
98.9576749
เลขที่ : 198040
การตีเหล็ก
เสนอโดย ลำพูน วันที่ 25 สิงหาคม 2566
อนุมัติโดย ลำพูน วันที่ 25 สิงหาคม 2566
จังหวัด : ลำพูน
0 355
รายละเอียด

การตีเหล็กเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ช่างตีเหล็กมีความสำคัญต่อชุมชนเกษตรกรเป็นอย่างยิ่ง นอกเหนือจากการตีมีดชนิดต่างๆ เช่น มีดขนาดเล็กที่ใช้ในครัวเรือน ชาวบ้านส่วนใหญ่ทำการเกษตร จึงจำเป็นให้ช่างตีเหล็กทำจอบ เสียม และใบเคียวเกี่ยวข้าวทุกฤดูการทำนา และบางครั้งยังต้องเป็นช่างซ่อมแซมเครื่องมือให้กับชาวบ้านอยู่เป็นประจำ

อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน มีชื่อเสียงในการตีเหล็ก โดยภูมิปัญญาดังกล่าวได้ถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เมื่อ ๒๐ ปีที่ผ่านมา ได้เรียนรู้วิชาการตีเหล็กมาจากปราชญ์ในหมู่บ้านสันใต้ซึ่งอยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน และในสมัยนั้นทางบ้านสันใต้ มีผู้เชียวชาญการตีเหล็กมาก โดยในตอนแรกไปเป็นลูกมือก่อน ช่วยหยิบจับอุปกรณ์ และต่อมาได้จดจำขั้นตอนวิธีการตีเหล็กต่างๆ นำมาพลิกแพลงเองจนได้ทำเองและมีความชำนาญ จนมีชื่อเสียงในการตีเหล็ก

สถานที่ตั้ง
ตำบล ทาขุมเงิน อำเภอ แม่ทา จังหวัด ลำพูน
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
อีเมล์ culturelamphun@gmail.com
ชื่อที่ทำงาน สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน
ตำบล เวียงยอง อำเภอ เมืองลำพูน จังหวัด ลำพูน รหัสไปรษณีย์ 51000
โทรศัพท์ 0 5351 0243 โทรสาร 0 5351 0244
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่