ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 17° 55' 34.6786"
17.9262996
ลองจิจูด (แวง) : E 99° 36' 10.341"
99.6028725
เลขที่ : 81648
ภาษากะเหรี่ยง
เสนอโดย ประวิทย์ กาญจนะ วันที่ 29 พฤษภาคม 2554
อนุมัติโดย แพร่ วันที่ 21 ธันวาคม 2554
จังหวัด : แพร่
2 23549
รายละเอียด
กะเหรี่ยง เป็นชาวเขาเผ่าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยรวมตัวกันอยู่หนาแน่น ในพื้นที่ป่าเขาทางทิศตะวันตกของประเทศไทยตามบริเวณชายแดนไทย-พม่า ชาวกะเหรี่ยงได้เคลื่อนย้ายเลื่อนมาทางทิศตะวันออกอย่างช้า ๆ ในระยะแรกประมาณ ๒๐๐ ปีที่ผ่านมา ชาวกะเหรี่ยงในประเทศไทยแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ คือ สะกอ และโป นักมนุษยวิทยาได้จัดชาวกะเหรี่ยงอยู่ในกลุ่มภาษาพม่า-ธิเบต ชาวกะเหรี่ยงมักตั้งถิ่นฐานอยู่ตามบริเวณหุบเขา ในระดับสูงประมาณ ๕๐๐ เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ชาวกะเหรี่ยงดำรงชีพด้วยการปลูกข้าวและพืชผักต่าง ๆ โดยการทำนาดำและการทำไร่แบบหมุนเวียน (กลับมาทำที่เดิมทุก ๕ - ๑๐ ปี) นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยง หมู ไก่ วัว ควาย และช้าง เพื่อเป็นอาหาร ทำพิธีกรรม ขาย และรับจ้างใช้แรงงาน ครอบครัวของกะเหรี่ยงนั้นยึดถือการสืบเชื้อสายถ่ายทอดมาทางฝ่ายหญิงเป็นหลัก เมื่อมีการแต่งงานเกิดขึ้นฝ่ายชายจะย้ายไปอาศัยอยู่ในครอบครัวของฝ่ายหญิง ในสังคมกะเหรี่ยงนั้นครอบครัวเป็นแบบครอบครัวเดี่ยวและถือระบบผัวเมียเดียวชาวกะเหรี่ยงแต่เดิมมีภาษาเขียนของคนเองใช้ในประเทศไทยนั้น กะเหรี่ยงส่วนใหญ่นักถือลัทธิบูชาผี นอกจากนั้นก็นับถือศาสนาพุทธและคริสต์ ขึ้นอยู่กับสภาพความสัมพันธ์กับชุมชนพื้นราบ ภาษาพูและการแต่งกายจึงเป็นอัตลักษณ์ของชนเผ่ากะเหรี่ยงในอำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ที่ชนเผ่าต้องช่วยกันอนุรักษ์สืบทอดให้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมสืบต่อไปทั้งในปัจจุบันและอนาคต 1.หมวดร่างกาย ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง ศีรษะ โซ-ส่า ผม โข-ซู หน้าผาก โข่-โด้-ส่า คิ้ว แมะ-เมอ ตา แมะ-คลี หู หน่า จมูก หาะ-เด แก้ม เบาะ-ปา ปาก ทะ-โข่ ฟัน แม ลิ้น เปล คอ เกาะ-โบ คาง ข่า ไหล่ โข แขน จือ-ดึ ศอก จือ-เหน่อ-คี มือ จือ นิ้วโป้ง จือ-หมื่อ นิ้วชี้ จือ-เหน่ นิ้วกลาง จือ-ปล่า นิ้วนาง จือ-เนอ นิ้วก้อย จือ-ฉ่า เล็บมือ จือ-เหม่ อก ชา-นา-ปว่า หลัง เคลอ-ฆี ท้อง ฮือ-เพอ เอว หย่อ-เด ขา กึ-ดึ เข่า ข่อ-เหล่-โม่ น่อง ข่อดี ขน ฉู่ เท้า ข่อ นิ้วเท้า ข่อ-เนอ 2. หมวดครอบครัว ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง ทวด ( ชาย,หญิง ) พือ-พะ-โดะ,พี-พะ-โดะ ปู่,ตา พือ ย่า,ยาย พี พ่อ ป่า แม่ โม่ ลูก โพ พี่ เหว่ น้อง ปื่อ หลาน โพ-โดะ ลุง,อา พา-ตี่ ป้า,น้า หมื่อ-ฆา ลูกสาว โพหมื่อ ลูกชาย โพ-ควา เพื่อน สะ-เกาะ พ่อตา,แม่ยาย มี-ปว่า พี่ชาย แหว่-เจ๊าะ พี่สาว แหว่-หน่อ สามี วา ภรรยา ม๊า ลูกเขย หมะ น้องสะใภ้ ปื่อ-เด ลูกสะใ ภ้ แดะ 3.หมวดกริยาท่าทาง ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง ร้องไห้ ห่อ หัวเราะ นี ยิ้ม นี-เกอ-มุย อาย แมะ-ชะ-ฆา รำ แฆ-เกอ-หลิ เดิน แล วิ่ง จิ กระโดด โปะ-โละ-แก่ ยกมือ หยุ-เท่อ-จือ ยกขา โหย-เท่อ-ข่อ เกา หวะ เสียใจ ซะ-ฮะ-ฆอ ดีใจ ซะคือ เหงา โจะพือ คิดถึง ซะ-เซอ-หญื่อ พูด โต-ต่า ถาม สิ-คว่า ตอบ แตะ-เชอ กลัว ปลี ตกใจ พึ คิด โช-โหม่ รู้ สี่-ญา ฟัง โด-กะ-หน่า อ่าน พะ เขียน แกวะ มองดู กว่า มองหา กว่า-มือ ผลัก ฉ่อ ดึง ถึ ยก เจาะ-ถ่อ โยน,ขว้าง,ทิ้ง กวิ หมุน วอ-เตอ-ริ หั่น เดาะ-ลอ ตำ โต่ เงย กว่า-เท่อ-ต่า ก้ม โชะ-ลอ-โข่ เชิด,ดู ฉวา ปัด,กวาด แคว ลบ ถุ-ซี ซักผ้า ฉื่อต่า อาบน้ำ หลู่-ที ล้างหน้า ปล่า-แมะ แล่ บละ ผ่าฟืน พะ-เส่-หมื่อ ยิงปืน คะ-สิ-หน่า ก่อไฟ มา-แก-เมะ-อู หุงข้าว พอ-เออะ-เม ตั้งหม้อ ชอ-เถ่อ-สะ-เปอ ******************** 4.หมวดเครื่องประดับ ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง เสื้อ เช-กา ผ้า(เสื้อ-ผ้า) ต่า-กี-หญะ ผ้าถุง หนี่ กางเกง แถ โสร่ง กะ-โด ผ้าโพกหัว โข-เผ่อ ผ้าขาวม้า พะ-ต่อ ย่าม เถ่อ หวี สี่ กระจก แมะ-เกอ-ลา แป้ง เส่-นา-คา ต่างหู หน่า-ดิ กำไล ที-ผวี่ แหวน ปะ-ซิ สร้อยคอ แพ เข็มขัด ญ่อ-เกระ-หรุ แว่นตา เมะ-เดาะ ถุงเท้า ข่อ-เผ่อ-ซุย รองเท้า ข่อ-เผ่อ นาฬิกา นา-เหร่ หมวก โข่-เมาะ * 5.หมวดอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือน ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง หม้อ เซอ-เปอ กระทะ ม้อ-ฆา หม้อนึ่ง ปอ-เฮอ กาน้ำ ที-คลอ-เดอ จาน ลอ-คอ-เอาะ-แม ชาม ลอ-คอ-ต่า-ซู ขันโตก เซอ-บิ ช้อน หน่อ-เตอ ไม้พาย หน่อ-โด่-กวะ ครก เซ่อ-โด่ สาก เซ่อ-โต่-โบ ขันน้ำ ที-หน่อ-เบลอะ เขียง คู มีด แฆะ เตา เหล่อ-ชอ-ข่อ ฟืน เส่-หมื่อ ตะเกียง โซ-เดอ เทียนไข โซ-วา ไม้ขีดไฟ แมะ-ดวี ไฟแช็ค เหล่อ-แหม่ ผงซักฟอก สะ-เปียะ-เกอ-หมู่ เชือก ปลี เข็ม ถะ ด้าย หลื่อ กรรไกร ถะ-ริ ครกกระเดี่อง เซ่อ-โหม่ กระด้ง ก่อ-แหล่ ก๋วย(ตระกร้า) เส่-เกวาะ ชะลอม กื้อ ค้อน หน่อ-โจ-โป ขวาน กว้า เสียม บอ-เกอ-ซือ จอบ บอ-พลา ร่ม เกอ-เดอ-หมื่อ ผ้าห่ม หญะ ที่นอน หล่อ-ดา หมอน คือ-ดือ-เข่อ มุ้ง เป่-ปอ เสื่อ คล่อ สบู่ ส่าเปียะ ยาสระผม เตอ-สอ-ปวี-โข่ ยาสีฟัน เตอ-สอ-ทุ-แม ******************** 6.หมวดสัตว์ต่างๆ สัตว์ป่า ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง ไก่ป่า ซอ-มี เก้ง ตาโอ กวาง ตาฆอ กระต่าย เบอ-แด กระรอก ลิ-หลู่ ขุ้น พอ-บอ งู ฆญื่อ จักจั่น เย จิ้งหรีด สะ-กี จิ้งเหลน ปุ-หลุ-วอ จิ้งจก เดอ-เหล่ ชะนี เกอ-ยุ-ปวา ตุ๊กแก โต๊ะ-แตะ ตะขาบ ดะ-บอ เต่า คลิ ทาก ชุ นก โถ่ หนู หยื่อ ผึ้ง เกอ-แน ผีเสื้อ โจ๊ะ-เกอ-เป่ หมี ตา-ซุ หมาป่า ฉุ่ย-มี หมูป่า เถอะ-มี แมงมุม เกอ-ปอ แมลงปอ แกวะ-แหละ-บอ แมงปีก ลายจิ้-ตะ-ถี้ แมงป่อง แมะ-ตา-แคละ แมงวัน ส่อ-บี-ลา ยุง เปอ-โจ ลิง ต่า-ม่อ,ลิ-ต่า-อือ ริน ต่า-ฆ่า-ลิ เสือ บ่อ-สะ-โอ ******************** สัตว์เลี้ยง ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง ไก่ ซอ แกะ โซ ควาย เปอ-หน่า ช้าง เก่อ-ชอ เป็ด โถ่-เดะ แพะ แมะ-ต่า-และ ม้า เกอ-เส่ หมู เถ๊อะ หมา ฉุ่ย แมว ส่า-มิ-ญอ วัว ต่าเต๊าะ,กล่อ ******************** สัตว์น้ำ ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง กุ้ง ชะ-เดาะ-พอ กบ เดะ ปลา ญ่า-โพ ปู ชะ-แหว่ แมงดา ส่า-ที-พา หอย โคล่ *********** 7.หมวดพืช-ผักต่างๆ ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง กระหล่ำ เส่-บะ-โบะ-โข่ กระเจี๊ยบ แบ-เมอ-ฉี่ กระเจี๊ยบมอญ ซอ-กอ-ปลึ-แบล ข้าวสาร อือ-สะ ข้าวหุง เม ข้าวเหนียว บือ-ปิ-อิ๊ ข้าวเหนียวนึ่ง ปิ-อี๊ ข้าวเปลือก บือ-เบะ ข้าวโพด บือ-เค-ส่า ชะอม โพ-ซุย-เดาะ ถั่ว ปะ-เถาะ-ส่า หน่อไม้ เบาะ บวบ เด-เร-ส่า บุก เฆอ บอน แก่-บอ-เดาะ ปลีกล้วย โด๊ะ-โข่-ส่า ผักกาด เส่-บะ-เดาะ ผักกาดขาว เส่-บะ-วา ผักกูด กิ-กุ๊-เดาะ ผักกระถิน โพ-ซุย-เส่ ผักชะพลู ปุ-ลิ-เดาะ ผักตำลึง พะ-แค-เดาะ ผักบุ้ง พะ-บู-เดาะ เผือก ขื่อ ฟักทอง หลื่อ-เค-บอ ฟักเขียว หลื่อ-เค-ส่า มะเขือแจ้ ชอ-กอ-ฮอ มะเขือเปราะ ชอ-กอ-จเราะ มะเขือพวง ชอ-กอ-หปุ-หลุ มะเขือยาว ชอ-กอ-กแว มะเขือเทศ ชอ-กอ-ฉี่ มันแกว แหน่ว-ปแฆ มันสำปะหลัง แหน่ว-เส่ แตงกวา ดี๊ งา หนี่-โซ เห็ด กือ กระเทียม เปอ-เซอ-วา หอมแดง เปอ-เซอ-ฆ่อ กระชาย เปาะ-สะ-เคาะ ขิง สะ-เอ ข่า สะ-เอ-เช ขมิ้น เส่-ยอ ใบแมงลัก ฮ่อ-วอ-เซ ตะไคร้ ฮ่อ-วอ-ตะ-โป่ ต้นหอม เปอ-แซ-ดบ ผักชี ฮือ-โปะ ผักชีฝรั่ง โต๊ะ-โปะ-หลำ ผักไผ่ ผมะ-ฉี่ พริก มุ-ส่า สาระแหน่ พอ-เซ-หมื่อ โหระพา พอ-สา-หลิ-ดี 8. หมวดผลไม้ ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง กล้วย สะ-กวิ ขนุน เปอ-หน่อย-ส่า แตงโม แตะ-เตอ-ส่า ฝรั่ง แกวะ-ซ่อ-มุ พุทรา มะ-ต่อ-ส่า น้อยหน่า เปอ-นอ-แหนะ มะม่วง สะ-เคาะ-ส่า มะนาว ปะ-นอ-แกล มะพร้าว ฆ่อ-ส่า มะละกอ สะ-กวิ-เส่-ส่า มะขาม เซ่-มอ-เกละ มะเฟือง สา-ขี่-ขู่ มะไฟ ส่า-เป-จือ-ส่า มะกรูด หมะ-ขู-สา มะกอก เตอ-ผี่-ส่า มะขามป้อม เซอ-เฌอ-ส่า ลำไย เกอ-แช-เหล่อ ลูกหว้า สะ-มี-ซู ส้มเขียวหวาน สะ-ซุย-เชอ ส้มโอ หมะ-โอ-ส่า สับปรด แนะ-ส่า เสาวรส สะ-โด-ส่า 9.หมวดสาธารณสุข ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง เป็นอะไร ปะ-เตอ-มา-เหลอ ไม่สบาย โอ-เตอ-ฉู่ อาการเป็นอย่างไร มา-สะ-ดิ๊-หลอ ปวดหัว โข่-ส่า-ชา ตัวร้อน เป็นไข้ โล-โก่ ปวดท้อง ฮึ-เพอ-ชา ท้องเสีย ฮึ-เพอ-ลู หนาว ต่า-เฆอ สั่น เตอ-เหน๊าะ เจ็บ ชา ปวดเมื่อย เตอ-กิ๊ บวม เญาะ ฝี เว-เบอ เหน็บ ชาเตอ-สี่ ท้องอืด,ท้องเฟ้อ ฮึ-เพอ-ก๊า พยาธิ เถาะ-เกอ-แหละ ไอ กุ๊ ยามีไหม เตอ-สี่-โอะ-ฮ๋า มี โอะ ไม่มี เตอ-โอะ ยานํ้า เตอ-สี่-ที ยาเม็ด เตอ-สี่-ดอ-เผลอะ 10.การนับตัวเลข ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง 1 เตอ 2 คี 3 เซอ 4 หลุ่ย 5 แหย่ 6 ฆึ 7 นุ๊ย 8 เฆาะ 9 ควี 10 เตอ-ชี 20 คี-ชี 30 เซอ-ชี 40 หลุ่ย-ชี 50 แห่-ชี 60 ฆี-ชี 70 นุ๊ย-ชี 80 เฆาะ-ชี 90 ควี-ชี 100 เตอ-เกอ-ยา 1,000 เตอเกอโท 10,000 เตอ-เกอ-ละ 100,000 เตอ-เกอ-หล่อ 11.สถานที่ต่างๆ ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง โรงพยาบาล ต่า-ฉ่า-ฮี่ ที่ว่าการอำเภอ รู๊ วัด ซอคาวะ โรงเรียน โจ๊ บ้าน เดอะ ตลาด กะ-ปู เรือนจำ ถ่อ-ปู ศาล ส่า-ปู สะพาน โต-โล น้ำตก ที-ลอ-ซู โบสถ์ ต่า-บา-โจ๊ หอพัก บอ-เด่อ ถนน แก้ละ หมู่บ้าน ฮี่ ******************** 12.บุคคลที่ควรรู้จัก ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง สมเด็จย่า จอ-ป่า-โหม่ พระราชา จอ-ปา พระราชินี จอ-ปา-หมื่อ นายกรัฐมนตรี,รัฐบาล ปวา-เปอ-ที-เปอ-ก่อ กำนัน แข่ว ผู้ใหญ่บ้าน สะ-ปว่า กลุ่มแม่บ้าน เฝาะ-หมื่อ-เกอ-เรอ กลุ่มเยาวชน แกล่-เซอ-เกอ-เรอ หัวหน้า(หน่วยงานต่างๆ) ต่า-โข่-ต่า-หน่า แพทย์ เกอ-ซี-เซอ-หระ ครู-อาจารย์ เซอ-หระ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ เส่-ปว่า ******************** 13.คำสนทนาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ภาษาไทย ภาษากระเหรี่ยง อยู่ที่นี่สบายดีไหม โอะ-พี-อี-มี-ฮ๋า กินข้าวหรือยัง เอาะ-แม-ลึ-ฮ๋า กินแล้ว เอาะ-ลี๊ ยังไม่ได้กิน เตอ-เอาะ-ดิ๊-บ๋า กินกับอะไร เอาะ-เม-เดอ-ต่า-มี-หลอ กินกับนั้าพริก เอาะ-เดอ-มู-ส่า อร่อยไหม หวิ-ฮ่า อร่อย หวิ ครูกินข้าว เซอ-หระ-เอาะ-เม กินเรื่อยๆนะ เอาะ-แบ๊ะ-แบ๊ะ ดื่มน้ำ ออ-ที ดื่มน้ำชา ออ-ที-คลอ ดื่มเหล้า ออ-ชิ กินอิ่มแล้ว,ขอบคุณ แบล๊ะ-เอาะ-ลิ,ตะ-บลึ ไปไหนมา แล-แพ-แหล-เก ไปไหน แล-ซู-หลอ ไปทุกวัน แล-เก๊าะ-หมื่อ-นี ไปไร่ แล-หลอ-ฆึ ไปนา แล-เลอ-จิ ไปสวน แล-เลอ-เกอ-เหร่อ ไปล่าสัตว์ แล-ฮ้อ-หล่อ ไปหาฟืน แล-ฆีเส่-หมื่อ ไปหาปลา แล-ฆี-เอาะ-ญ่า-โพ ไปเกี่ยวข้าว แล-กุ๊-บื ไปถางไร่ แล-แพะ-ฆึ ไปถางหญ้า แล-กล้อ-หน่อ เผาไร่ ชุ-มี ไปปลูกข้าว แล-สู-บื ไปเลี้ยงควาย แล-ลือ-เปอ-หน่า ไปเลี้ยงวัว แล-ลือ-ต่า-เต๊าะทอผ้าถ่า-ต่า ตำข้าว หย่อ-บื ไปในเมือง แล-เลอ-ก๊ะ-ปู ไปตลาด แล-เลอ-เหว่-ปู ไปเที่ยว,เดินเล่น แล-ฮะ ไปทำอะไร แล-มา-ตา-หลอ ไปอาบน้ำ แล-ออ-ลูที ไปตักน้ำ แล-เดอะ-ที ไปอุจจาระ แล-เอะ-ชา ไปปัสสาวะ แล-ฉี่-ชา ********************
สถานที่ตั้ง
ต.แม่เกิ๋ง ต.แม่พุง,ต.แม่ป้าก อ.วังชิ้น
หมู่ที่/หมู่บ้าน ๗ บ้านค้างใจ ถนน วังชิ้น-ลอง
ตำบล แม่เกิ๋ง อำเภอ วังชิ้น จังหวัด แพร่
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
สภาวัฒนธรรมตำบลแม่เกิ๋ง
บุคคลอ้างอิง นางสาวจันทร์เพ็ญ คำเหลือง อีเมล์ praa_vit1@hotmail.com
ชื่อที่ทำงาน สำนักงานวัฒนธรรมอำเภอวังชิ้น อีเมล์ สภาวัฒนธรรมอำ
หมู่ที่/หมู่บ้าน วังชิ้น ถนน เทศบาล ๑
อำเภอ วังชิ้น จังหวัด แพร่
โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๗๔-๑๖๐๖
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่