ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
Latitude : N 17° 23' 51.6343"
17.3976762
Longitude : E 104° 47' 24.0644"
104.7900179
No. : 193145
เรือไฟโบราณ
Proposed by. นครพนม Date 3 September 2020
Approved by. นครพนม Date 3 September 2020
Province : Nakhon Phanom
0 447
Description

ความเป็นมา (ภมูิหลัง/ความเชื่อ)
ตามประเพณีโบราณอีสาน ซาวบ้านจะต้องยึดถือ และปฏิบัติตนตามฮีต ๑๒ คอง ๑๔ ซึ่งถือเป็น ธรรมนูญการปกครอง ของหมู่บ้านชุมชนทั่วไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรืออีสาน ฮีต ๑๒ การปฏิบัติตนตามฮีต๑๒ ของผู้คนในภาคอีสานนั้น ก็เหมือนกันกับการปฏิบัติตนตามประเพณี ๑๒ เดือนของไทยนั่นเอง เพียงแต่มืกิจกรรมตามเอกลักษณ์ ที่เป็นบริบท ของผู้คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วย รีต หมายถึง แบบแผน ฃนบธรรมเนียม ความดีงามดังนี้
เดือนอ้าย บุญเข้ากรรมเป็นการปฏิบัติของภิกษุ ที่ละเลยหรือผิดครองสงฆ์ อาบัติ สังฆาทิเสส ต้องเข้าอยู่กรรมจึงจะพ้นจาก อาบัติ เมื่อภิกษุได้เข้าปริวาสกรรม หรือเข้ากรรม ญาติโยม ผู้มีจิตเลื่อมใส หวังต่อผลบุญก็จะร่วมบริจาคทาน รักษาศีล บำเพ็ญตนภาวนา ฟ้งธรรม และถวายดอกไม้ธูปเทียน และ,นาปานะ จะได้อานิสงส์ผลบุญสนอง เดือนยี่ บุญคูนลาน
การใข้สถานที่”ลานนวดข้าว”เป็นที่ประกอบพิธีทำบุญ โดยซาวนานำผลผลิตที่ได้ มาบำเพ็ญกุศล มี การเจริญพระพุทธมนต์ เลี้ยงพระเป็นสิริมงคลต่อผลผลิต เพื่อความอุดมสมบูรณ์ในปีต่อไป เดือนสาม บุญข้าวจี่เป็นการทำบุญเกี่ยวกับข้าวเหนียว ซึ่งเป็นอาหารหลักของซนซาวอีสาน โดยการเอาข้าวเหนียวนึ่งมา ปันโรยเกลือ ทาไข่ไก่ แล้วย่างไฟให้สุก เหลืองโดยทั่ว แล้วนำไปถวายทาน ประกอบพิธีทางสงฆ์ลือว่าได้กุศล มาก
เดือนสี่ บุญพระเวสการเทศน์มหาซาติ หรือบุญพระเวส เป็นซาดกที่แสดงให้เห็นถึงพระจริยวัตร ของสมเด็จพระสัมมาสัม พุทธเจ้าเมื่อครั้งเสวยพระซาติเป็นพระเวสสันดร เดือนห้า บุญสรง'นาเป็นการทำบุญด้วยการเซิญพระพุทธรูปลงสรงนํ้า รวมถึงนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ และผู้หลักผู้ใหญ่ เพื่อรด นํ้าฃอพร คล้ายกับงานสงกรานต์ของซาวไทยในอุษาคเนย์ เดือนหก บุญบั้งไฟ
การทำบุญบูซาพญาแถน ขอฟ้าขอฝน เพื่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ โดยการทำบั้งไฟ เพื่อจุดให้พุ่งขึ้น ไปบนท้องฟ้า พญาแถนจะได้ส่งฝนลงมาสู่โลกมนุษย์ เดือนเจ็ด บุญซ0าฝืะเป็นการทำบุญปิดเป่ารังควาน สิ่งสกปรกมัวหมองออกไปจากบ้านเมือง คงเหลือแต่สิงคีมีมงคล ก่อให้เกิดความสุขกาย สบายใจแก่ผู้ร่วมทำบุญ เดือนแปด บุญเข้าพรรษา
การทำบุญ เพื่อการอยู่ประจำในอาวาสแห่งเดียวของพระสงฆ์ ตลอดเวลา ๓ เดือน ที่จะต้องปฏิบัติ ตามกิจซองสงฆ์ อย่างเคร่งครัด ผู้ร่วมทำบุญเข้าพรรษาจะได้รับอานิสงส์กุศลมาก เดือนเก้า บุญ1ข้าว'ใ]ระดัใmนเป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ล่วงสับ ซึ่งอาจจะตกทุกข์อยู่ โดยการห่ออาหารคาวหวาน เป็น ห่อๆไปวางไว้ตามสถานที่ต่างๆ ในบริเวณวัด ต้นไม้ ตามมุมกำแพงวัด ที่เซื่อว่าผู้ล่วงสับจะคอยยืนรับผลทาน เซื่อว่าผู้กระทำจะได้รับพรจากผู้ล่วงสับให้รุ่งโรจน์และเจริญรุ่งเรืองได้ เดือนสิบ บุญข้าวสาก หรือ สลากภัต
การทำสำรับอาหาร หรือห่ออาหารด้วยใบตองมัดเป็นพวงแล้วเซียนซื่อผู้ทำไว้ เมื่อเข้าพิธีทางศาสนา แล้วมีการทำหมายเลขสลากกำกับ พระสงฆ์รูปใดจับได้ก็เป็นบุญวาสนาของทั้งผู้ให้และผู้รับ เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา ไหลเรือไฟบุญประเพณีครบไตรมาส ซองการเข้าพรรษา ๓ เดือน เมื่อออกพรรษาจะมีการล่วงเฮือ และไหลเรือ ไฟ เพื่อเป็นการบูชาตามความเซื่อในเรื่องต่างๆ ซึ่งการทำเรือไฟโบราณ ก็เกิดจากฮีต หรือจารีตตามบุญเดือน สิบเอ็ดนี้
เดือนสิบสอง บุญกฐินเป็นการทำบุญที่เกี่ยวข้องกับ ผ้าไตรจีวร โดยมีกำหนดการทำบุญบื้เพิยง ๑ เดือนตั้งแต่วันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒ ผู้ทำจะได้อานิสงส์มากจากที่กล่าวมาในเบื้องต้น เพื่อให้เกิดความกระจ่างเกี่ยวกับประเพณีท้องถิ่นภาคอีสานในแต่ละปี แต่ ในที่นี้จะได้เล่าถึงประเพณีบุญออกพรรษาไหลเรือไฟ ที่จังหวัดนครพนมซึ่งมีการทำเรือไฟสืบต่อกันเรื่อยมานับ ร้อยปี
ในยุคเริ่มแรกของประเพณีไหลเรือไฟ ซาวบ้านจะใข้วัสดุที่มีในห้องถิ่นมาเป็นองค์ประกอบในการทำ เรือไฟและเน้นในการอนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมด้วย เซ่น การทำเรือไฟลำเล็กด้วยกาบกล้วยโดย!เมือในการ ออกแบบเรือไฟลำเล็กให้เป็นเรือไฟส่วนตัวของสมาซิกในครอบครัว ทุกคนจะมีเรือไฟของตนเองมีการจัดหา ดอกไม้ธูปเทียน ฃี้ไต้ล่องสว่างเวลาจุดไฟ ปล่อยลอยไหลไปอย่างราบรื่น อีกทั้งทรัพย์สินเงินทองบริจาคลงในลำ เรือไฟของตน ก่อนไหลเรือไฟก็มีการตกแต่งให้สวยงาม แล้วอธิษฐานในสิ่งดีมีมงคลจุดไฟปล่อยให้!หลไปตาม ลำนํ้าเป็นเสร็จพิธีการทำเรือไฟกาบกล้วยลำเล็กๆ นั้นเป็นที่นิยมกันมานานแล้วปูย่าตายาย พ่อแม่จะเป็นผู้นำพา เป็น ต้นแบบในการจัดทำพร้อมทั้งอธิบายถึงความสำคัญของประเพณีไหลเรือไฟให้ลูกหลานพิงจนเข้าใจ และ สามารถทำเรือไฟกาบกล้วยของตนเองได้ แต่ละคนเข้าใจเกิดศรัทธาที่จะสืบสาน อนุรักษ์ประเพณีไหลเรือไฟ ต่อไป
ต่อมาฝ่ายปกครองขุมซน เซ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้านรวมถึงพระภิกษุขั้นผู้ใหญ่ในวัดประจำหมู่บ้าน เห็นว่า การทำเรือไฟกาบกล้วยให้เป็นเรือไฟส่วนตัวของซาวบ้านนั้นแม้เป็นสิ่งดีที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดต่อไปก็คงให้ กระทำและปฏิบัติในบุญเดือน ๑๑ หรือบุญออกพรรษาอยู่ต่อไป แต่ขอปรับปรุงรูปแบบให้มีการทำเรือไฟของ ขุมซนหรือเรือไฟของคุ้มวัด โดยให้มีขนาดของเรือไฟลำใหญ่ขึ้น โดยให้ซาวบ้านทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดทำ จะได้เห็นถึงความสามัคคี ความเสียสละต่อสังคมส่วนรวมมากกว่าการทำเรือไฟลำเล็กๆ ด้วยกาบกล้วยของ ตนเองเท่านั้น
ซาวบ้านส่วนใหญ่ก็เห็นดีด้วยกับการทำเรือไฟของขุมซน เนื่องจากเป็นลำเรือไฟขนาดใหญ่ความยาว ๘-๑๐ เมตร เมื่อจุดไฟลอยไหลไปตามลำน้ำผู้คนอยู่ริมฝั่งก็มองเห็นเรือไฟที่จุดไฟทั่วลำเรือซัดเจนสวยงามด้วย เพราะมองเห็นไฟจากแสงของขึ้ไต้ที่ถูกวางเรียงให้โค้งไปตามรูปทรงของลำเรือและล้ามีเรือไฟของขุมซนหรือคุ้ม วัดอื่นๆ ที่อยู่ตามริมน้ำได้น่าเรือไฟของคุ้มวัดตน ปล่อยลอยไฟไหลมาตามลำน้ำในเวลาใกล้เคียงกัน ซาวบ้านก็ จะได้ซมเรือไฟลำอื่นๆ ด้วยการทำเรือไฟของขุมซนหรือคุ้มวัดในสมัยก่อนนั้น ถือว่าเกิดจากกุศโลบายของผู้น่าขุมซนที่ต้องการ เน้นให้เกิดความสามัคคีและความเสียสละของประซาซนจึงกำหนดให้ซาวบ้านหรือซาวคุ้มวัดได้จัดหาวัสดุ สิ่งของอุปกรณ์ที่แต่ละครอบครัวมีอยู่มาบริจาคสมทบกับวัด เซ่น ใครมีไม้!ผ่มาก็บริจาคมาทำโครงเรือไฟ ใครมี ต้นกล้วยก็บริจาคมาเป็นวัสดุทำเรือไฟ ส่วนขายฉกรรจ์ก็พากันเข้าป่าไปหาขึ้ไต้ ขี้ควงหรือขันโรง เพื่อขุดเอารัง ที่อยู่ในโพรงใต้ดินสามารถติดไฟ เป็นแสงสีต่างๆ สวยงาม บางครอบครัวที่ไม่มีวัสดุอุปกรณ์ก็จัดหาอาหารการ กินจัดแจงมาเพื่อเลี้ยงดูผู้ลงมือทำเรือไฟ แม้แต่ผู้ที่ไม่มีวัสดุช่วยส่วนกลาง ก็อาสาเป็นแรงงานช่วยเป็นผู้จัดทำ เรือไฟตามที่ซ่างออกแบบแนะน่าให้ส่วนต่างของเรือไฟจนสำเร็จ และน่าไปลอยไหลในลำดับขั้นตอนสุดท้าย

อัตลักษณ์ที่โดดเด่น
แนวปฏิบัติทางสังคม
ซาวบ้านได้ปฏิบัติในเดือน ๑๑ โดยมีกำหนดการปฏิบัติในวันขึ้น๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ของทุกๆปี โดย พิธีกรรมจะจัดที่วัดประจำหมู่บ้านโดยประกอบพิธีทางศาสนาไหว้พระรับศีล จัดวัสดุสิ่งของไว้ภายในลำเรือไฟ ตามความศรัทธาและความเชื่อทีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
หมู่บ้านหรือชุมซนคุ้มวัดที่อยู่ริมแม่นํ้าในจังหวัดนครพนม เซ่น ริมแม่,นาโขง แม่,นาสงคราม นํ้ากํ่า นํ้า ยาม นํ้าบัง จะปฏิบัติกิจกรรมไหลเรือไฟแบบโบราณดั้งเดิมในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ เหมือนกันทุกชุมซน โดยประกอบพิธีทางศาสนาแล้วขายฉกรรจ์ก็จะน่าเรือไฟแบบโบราณซองคุ้มวัดขึ้นไปเหนือหมู่บ้านแล้วนำเรือ ไฟของคุ้มวัดลงไปยังท่า,นาแล้วมีการจุดไฟให้ทั่วลำเรือ จึงลากจูงเรือออกไปกลางลำแม่,นํ้าประคองให้เรือไฟ ขนานกับริมฝืง ผู้ซมจะได้เห็นความสวยงามซองดวงไฟและการค่อยๆ เลื่อนไหลลอยไปตามกระแส,นํ้าเป็นสัจ ธรรมที่บ่งบอกว่าซีวิตก็มีการค่อยเลื่อนไหลไปเซ่นเดียวกัน สักวันหนึ่งทุกซีวิตก็ต้องเดินทางไปถึงจุดจบ จะ เหลือไว้เพียงลื่งดืงามให้ผู้อยู่หลังได้รู้และศึกษาต่อไป
ส่วนเรื่องความเชื่ออันเป็นมูลเหตุซองการไหลเรือไฟด้านต่างๆ เซ่น ความเชื่อเรื่องบูชาคุณซองแม่นํ้า บูชารอยพระพุทธบาท บูชาพญานาค บูชาพระพุทธเจ้าในวันพระเจ้าทรงเปิดโลก บูชาพระคุณด้วยการจุด ประทีปโคมไฟและการสะเดาะเคราะห์ ซาวบ้านผู้ทำเรือไฟหรือร่วมพิธีทำเรือไฟส่วนกลางหรือเรือไฟคุ้มวัดก็จะ พากันอธิษฐานระลึกถึงแต่ละความเชื่อในช่วงเวลาจะปล่อยลอยเรือไฟไป เมื่อเรือไฟลอยไหลไปก็เป็นเสร็จ พิธีกรรมเหลือเพียงความสุขใจที่ได้ประกอบพิธีในแต่ละปีซองทุกคนอย่างล้วนหน้า

ความสำคัญและคุณค่าทางสังคมและทางจิตใจที่มีในวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชน นั้นๆ
๑. คุณค่าของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่สำคัญ
คุณค่าทางจิตใจ
- การไหลเรือไฟโบราณเปีนการสร้างความสุขทางใจแก่ผู้ร่วมกิจกรรมตามความเชื่อในอดีตว่าผู้ที่ได้ ประกอบพิธีแล้วจะเกิดอานิสงส์ต่างๆ แก่ผู้กระทำเซ่น การบูชารอยพระพุทธบาท การบูชาด้วย ประทีปโคมไฟจะได้อานิสงส์เปีนผู้มีตาทิพย์การไหลเรือไพิบูซาพญานาค จะปลอดภัยทาง,นาและ การสะเดาะเคราะห์ปล่อยทุกซโศกโรคภัยต่างๆ ทำให้เกิดความสุขใจ
คุณค่าทางความสามัคคีและความเสียสละเพื่อส่งเสริม
- การทำเรือไฟโบราณเปีนการร่วมงานซองกลุ่มบุคคลที่มีความสามัคคีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อีกทั้งยัง มีการเสียสละทั้งทรัพย์สิ่งซองและแรงกายเพื่อสังคมส่วนรวมด้วย
คุณค่าทางการศึกษาถ่ายทอดภูมิปัญญา
- มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่นและถ่ายทอดความรู้ทางการศึกษาฮีต ๑๒ คอง ๑๔ ซึ่งเปีน จารีตประเพณีและปรัชญาสอนผู้คนมาแต่ครั้งโบราณ
คุณค่าต่อการอนุรักษ์ ฟัน,ฟู วัฒนธรรมอันดีงาม
- การลืบทอดวัฒนธรรมในการทำเรือไฟโบราณ เปีนการอนุรักษ์[นสิ่งที่ดืงามไว้และบางสิ่งที่สูญ หายไปแต่เห็นว่าเปีนสิ่งดืก็ฟ้น,ฟูขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง
๒. บทบาทของขุมขนที่มิต่อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
บ'ทใภทํในการดั้งกลุ่มศิลปันเรือ'ไฟ-ซมรมต่างๆ
- มีการรวมพลังทางความคิดในการออกแบบพัฒนาเรือไฟโบราณให้มีกิจกรรมที่น่าสนใจของ นักท่องเที่ยวในแต่ละขุมซน
บทบาทในการติดตามการดำเนินงานประเพณีไหลเรือไฟของจังหวัด
- ในการประขุมเกี่ยวกับงานบุญประเพณีไหลเรือไฟของจังหวัดขุมซนทั้งองค์กรเอกซน ภาค
ประซาซน มีส่วนร่วมในการให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการดำเนินงานจัดงานประเพณีทุกปี
- ขุมซนมีส่วนขยายผลกิจกรรมการทำเรือไฟ ผ่านสื่อต่างๆ เป็นการประซาสัมพันธ์กิจกรรมทาง ประเพณีห้องถิ่นออกไปสู่สังคมอย่างกว้างขวาง โดยมีการออกรายการทางโทรทัศน์ด้วย

Location
Tambon ในเมือง Amphoe Mueang Nakhon Phanom Province Nakhon Phanom
Details of access
Reference นายเด่นชัย ไตรยะถา Email denchaiok@hotmail.com
Organization สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม
Tambon ในเมือง Amphoe Mueang Nakhon Phanom Province Nakhon Phanom ZIP code 48000
Tel. 081 -5461709
Comment
Please Login Before comment.

Username
Password
No comment.
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่